อันรุ่งเรืองในเอเชียตะวันออดเฉียงใต้ ทั้งนี้ capitals is Southeast Asia. This is justified
ยืนยันได้ตามหลักฐานสำคัญๆ ทั้งหลักฐาน by information from various foreign and Thai
เอกสารของไทยและต่างชาติ, ซากวัดวาอาราม documents as well as the remains of over 500
และพระราชวังกว่า 500 แห่ง ซึ่งเป็นประจักษ์ palaces and temples, which are tangible
พยานที่เด่นชัด พระนครหลวงแห่งนี้มีอายุ evidence. This capital of the past lasted for
ยืนยาวอยู่ในประวัติศาสตร์ถึง 417 ปี โดยมี 417 years, The kings were absolute rulers and
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครองสูงสุด religious patrons, leading this state through its
ในฐานะองค์อัครศาสนูปถัมภภกที่มีวิวัฒนาการ evolution.
สืบเนื่องเรื่อยมา As one of the most peaceful, stable and
เฉกเช่นพระนครอันมั่นคงและสงบสุขแห่งหนึ่ง enduring capital in the history of Southeast
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สภาพความเป็น Asia, a significant international port flourishing
เมืองท่าสำคัญ อีกทั้งวัฒนธรรมและศิลปะอัน with unique art and culture, Ayutthaya made
เป็นเอกลักษณ์ ทำให้อยุธยาเป็นเสมือนแหล่ง an enormous contribution to the knowledge
ความรู้อันอุดมแห่งการพัฒนาของมนุษยชาติ of human development, Thus, UNESCO
ดังนั้นองค์การยูเนสโก อนุมัติให้ขึ้นทะเบียน approves its inclusion in its list of World
เป็นมรดกโลก เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1991 Heritage Sites on December 13th, 1991 , in
ณ เมืองคาร์ทาร์จประเทศตูนีเซีย ด้วยเหตุผล Carthage, Tunisia, for the following reasons :
หลักๆ กล่าวคือ Ayutthaya's location was superbly
ตำแหน่งของพระนครศรีอยุธยานั้นถูกคัดสรร salacted to be a the junction of three rivers,
มาอย่างดีเยี่ยม โดยตั้งอยู่บริเวณที่บรรจบกัน and the city planning was sophisticatedly
ของแม่น้ำทั้ง 3 สาย ขณะที่แผนผังของตัว designed for the water - based nature of
พระนครนั้น ได้รับการออกแบบอย่างถี่ถ้วนเพื่อ traditional Thai settlements. Such features also
รองรับภัยสภาวะธรรมชาติแบบที่ราบลุ่มแม่น้ำ facilitated the city's defance and infrastructure
อันสอดรับกันกับวิถีชีวิตและการตั้งบ้านเรือน planning which promoted prosperuty in times
ของคนไทย ซึ่งสิ่งเหล่านี้นอกจากจะทำหน้าที่ of peace
เป็นแนวป้องกันแล้ว ยังทำหน้าที่เป็นเสมือน
สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ช่วยส่งเสริมพระนคร
ในช่วงแห่งความเจริญสูงสุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น